|
 |
 |
|
ชาวบ้านในตำบลหนองกระเจา มีวิถีชิวิตความเป็นอยู่แบบพอเพียง ตามปรัชญาของในหลวง ชาวบ้านมีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่พึ่งพาอาศัยกัน อยู่กันอย่างเครือญาติ ส่วนใหญ่นับถือ ศาสนาพุทธ มีวัดเป็นสถานที่ยึดเหลี่ยวจิตใจ และเป็นที่เคารพบูชาของชาวบ้าน |
|
|
|
|
 |
 |
|
ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลหนองกระเจา ส่วนใหญ่นับถือ ศาสนาพุทธ มีวัดจำนวน 9 แห่ง คือ |

 |
วัดหนองโก |
หมู่ที่ 1 |

 |
วัดดงขุย |
หมู่ที่ 3 |

 |
วัดหนองยาว |
หมู่ที่ 4 |

 |
วัดหัวกระทุ่ม |
หมู่ที่ 5 |

 |
วัดหนองกระเจา |
หมู่ที่ 6 |

 |
วัดราษฎร์ศรัทธาธรรม |
หมู่ที่ 8 |

 |
วัดสระตาล |
หมู่ที่ 9 |

 |
วัดมงคลสุจริตธรรม |
หมู่ที่ 11 |

 |
วัดหนองกุ่มทอง |
หมู่ที่ 14 |
|
|
 |
 |
|
สถานีอนามัยประจำตำบล/หมู่บ้าน จำนวน 2 แห่ง |

 |
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองโก อยู่ในพื้นที่ หมู่ที่ 1 |

 |
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสันติสุข อยู่ในพื้นที่ หมู่ที่ 12 |
อัตราการมีส้วมราดน้ำใช้ จำนวนอัตราร้อยละ 100 |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|

 |
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก |
จำนวน |
1 |
แห่ง |

 |
โรงเรียนประถมศึกษาสังกัด สพฐ. (ระดับอนุบาล - ประถมศึกษาปีที่ 6) |
จำนวน |
3 |
แห่ง |
|

 |
โรงเรียนบ้านดงขุย |
|

 |
โรงเรียนบ้านหนองโพลง |
|

 |
โรงเรียนบ้านหนองกุ่ม |

 |
โรงเรียนประถมศึกษาสังกัด สพฐ.
(ระดับอนุบาล - มัธยมศึกษาปีที่ 3) |
จำนวน |
1 |
แห่ง |
|

 |
โรงเรียนบ้านหนองโก |

 |
ที่อ่านหนังสือประจำหมู่บ้าน / ห้องสมุดประชาชน |
|
|
จำนวน |
14 |
แห่ง |

 |
ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร (ที่ทำการ อบต.หนองกระเจา) |
|
|
จำนวน |
1 |
แห่ง |
|
|
|
|
|
|
วัฒนธรรมและประเพณีท้องถิ่นที่สำคัญ ได้แก่ |

 |
ประเพณีกวนข้าวทิพย์ พระครู บัญญัติ แห่งวัดหนองกุ่มทอง หมู่ที่ 14 ตำบลหนองกระเจา อำเภอชุมแสง จังหวัดนครสวรรค์ ได้เล่าถึงประวัติความเป็นมาของประเพณีกวน “ข้าวทิพย์” หรือ “ข้าวมธุปายาส” คือการหุงด้วยน้ำนมโคสด ที่นางสุชาดาได้นำมาถวาย พระสมณโคดม (พระพุทธเจ้า) หลังทรงเลิกบำเพ็ญทุกข์กิริยา ซึ่งได้รับไว้และทรงฉันท์ในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 และวันนั้นก็ได้สำเร็จโพธิญาณเป็น พระอรหันต์ |
|
|

 |
งานประเพณีกำฟ้า ตำบลหนองกระเจา มีประเพณีกำฟ้าที่สืบทอดมาเป็นเวลานานแล้วของชาวบ้านหมู่ที่ 3 บ้านดงขุย ซึ่งทุกปีจะตรงกับ ขึ้น 2 ค่ำ เดือน 3 โดยเป็นประเพณีดั้งเดิมของลาวพรวน จากลพบุรี อพยพมาอยู่ที่หมู่บ้านดงขุย ซึ่งจะมีการเผาข้าวหลาม ภายในหมู่บ้านทุกหลังคาเรือนและนำมากองรวมกันให้ สูง ๆ ในงานจะมีมหรสพมากมาย มีการปิดทอง ไหว้พระ ในวันรุ่งเช้าจะมีพิธีทางศาสนา คือ การทำบุญชาวบ้านจะนำข้าวหลามมาทำบุญ |
|
|